บริษัทรักษาความปลอดภัยสตูล

บริษัท รักษาความปลอดภัย กรองทอง เซฟตี้โซน จำกัด
KRONGTHONG SAFETY ZONE SECURITY GUARD CO., LTD.


มืออาชีพทางด้านการบริหารงานรักษาความปลอดภัย ด้วยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรม ทุกหลักสูตรมาตรฐานให้มีพร้อมในการดูแลชีวิตและทรัพย์สินของลูกค้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดจนถึงการพัฒนาระบบและอุปกรณ์ ให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้วันนี้ได้รับความไว้วางใจสูงสุดทั้งจากลูกค้าภาครัฐและลูกค้าภาคเอกชนมากกว่าหน่วยงานที่สำคัญมีจำนวนพนักงาน รปภ.ที่เติบโตแบบก้าวกระโดดอย่างต่อเนื่อง

ประวัติความเป็นมา : Our History

ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ พัฒนาและยกระดับอาชีพรักษาความปลอดภัย ให้มีมาตรฐาน สร้างความเชื่อมั่นและความอุ่นใจให้ผู้ใช้บริการจากประสบการณ์มากกว่า 30 ปี


จึงทำให้เรามีความพร้อมเป็นมืออาชีพ มีประสบการณ์ด้วยทีมงานที่มีคุณภาพ
ผ่านการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยทุกประเภท อาทิเช่น สนามบิน ทางด่วน สถาบันการเงิน โรงแรม โรงพยาบาล
สถานศึกษา สถานที่ราชการ ห้างสรรพสินค้า หมู่บ้านจัดสรร คอนโด โรงงานอุตสาหกรรม บริษัทห้างร้าน ตึก อาคาร สถานที่ทั่วไปต่างๆ เป็นต้น

รักษาความปลอดภัย
<p>ให้บริการพนักงานรักษาความปลอดภัยในอาคาร สถานที่ และทรัพย์สิน</p>
อารักขา
<p>ให้บริการอารักขาบุคคลสำคัญ (VIP)</p>
ฝึกอบรม
<p>การฝึกอบรมหลักสูตรความปลอดภัยเบื้องต้น ตามพระราชบัญญัติธุรกิจความปลอดภัย พ.ศ. 2558</p>
ติดตั้งอุปกรณ์
<p>จัดระบบติดตั้งอุปกรณ์เทคโนโลยีด้านรักษาความปลอดภัย ที่ทันสมัยทุกชนิด</p>

สอบถามรายละเอียด


บริษัทรักษาความปลอดภัยสตูล สตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกอดะฮ์ว่า สะตุล (ستول) แปลว่า “กระท้อน” ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครีสโตยมำบังสาครา (มลายู: Negeri Setul Mambang Segara; อักษรยาวี: نڬري ستول ممبڠ سڬارا; เนอเกอรีเซอตุลมัมบังเซอการา) นั้นหมายความว่า “สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา” ดังนั้น ตราพระสมุทรเทวาจึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้

ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น สตูลเป็นเพียงตำบลหนึ่งในเขตเมืองไทรบุรี เรียกว่า มูเก็มสะตุล (مقيم ستول) ประวัติความเป็นมาของเมืองสตูลจึงเกี่ยวข้องกับไทรบุรี ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยว่า “ตามเนื้อความที่ปรากฏดังกล่าวมาแล้ว ทำให้เห็นว่าในเวลานั้น พวกเมืองไทรเห็นจะแยกกันเป็นสองพวกคือ พวกเจ้าพระยาไทรปะแงรันพวกหนึ่ง และพระยาอภัยนุราชคงจะนบน้อมฝากตัวกับเมืองนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะเมื่อพระยาอภัยนุราชได้มาเป็นผู้ว่าราชการเมืองสตูล ซึ่งเขตแดนติดต่อกับนครศรีธรรมราชมากกว่าเมืองไทร แต่พระยาอภัยนุราชว่าราชการเมืองสตูลได้สองปีก็ถึงแก่อนิจกรรม ผู้ใดจะได้ว่าราชการเมืองสตูลต่อมาในชั้นนั้นหาพบจดหมายเหตุไม่ แต่พิเคราะห์ความตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลัง เข้าใจว่าเชื้อพระวงศ์ของพระอภัยนุราช (ปัศนู) คงจะได้ว่าราชการเมืองสตูล และฟังบังคับบัญชาสนิทสนมกับเมืองนครศรีธรรมราชอย่างครั้งพระยาอภัยนุราชหรือยิ่งกว่านั้น”

เรื่องเกี่ยวกับเมืองสตูลนั้นยังปรากฏในหนังสือพงศาวดารเมืองสงขลา แต่ข้อความที่ปรากฏบางตอนเกี่ยวกับชื่อผู้ว่าราชการเมืองสตูล ไม่ตรงกับในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประวัติเกี่ยวกับเมืองสตูลในการจัดรูปแบบการปกครองเมืองตามระบอบมณฑลเทศาภิบาลกล่าวไว้ว่า ในปี พ.ศ. 2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาไทรบุรีรามภักดี เจ้าพระยาไทรบุรี (อับดุลฮามิต) เป็นข้าราชการเทศาภิบาลมณฑลไทรบุรี โดยเมืองสตูลได้แยกออกจากไทรบุรีอย่างเด็ดขาดตามหนังสือสัญญาไทยกับอังกฤษ เรื่องการปักปันดินแดนนะหว่างไทยกับสหพันธรัฐมลายู ซึ่งลงนามกันที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 10 มีนาคม ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2452) จากหนังสือสัญญานี้ยังส่งผลให้เมืองไทรบุรีและเมืองปะลิสตกเป็นของอังกฤษ ส่วนเมืองสตูลยังคงเป็นของไทยมาจนถึงปัจจุบัน เมื่อปักปันดินแดนเสร็จแล้ว ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เมืองสตูลเป็นเมืองจัตวารวมอยู่ในมณฑลภูเก็ตเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ร.ศ. 128 (พ.ศ. 2453) ในปี พ.ศ. 2475 ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย เมืองสตูลก็มีฐานะเป็นจังหวัดหนึ่งในราชอาณาจักรไทยสืบต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้