รักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด

บริษัท รักษาความปลอดภัย กรองทอง เซฟตี้โซน จำกัด
KRONGTHONG SAFETY ZONE SECURITY GUARD CO., LTD.


มืออาชีพทางด้านการบริหารงานรักษาความปลอดภัย ด้วยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรม ทุกหลักสูตรมาตรฐานให้มีพร้อมในการดูแลชีวิตและทรัพย์สินของลูกค้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดจนถึงการพัฒนาระบบและอุปกรณ์ ให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้วันนี้ได้รับความไว้วางใจสูงสุดทั้งจากลูกค้าภาครัฐและลูกค้าภาคเอกชนมากกว่าหน่วยงานที่สำคัญมีจำนวนพนักงาน รปภ.ที่เติบโตแบบก้าวกระโดดอย่างต่อเนื่อง

ประวัติความเป็นมา : Our History

ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ พัฒนาและยกระดับอาชีพรักษาความปลอดภัย ให้มีมาตรฐาน สร้างความเชื่อมั่นและความอุ่นใจให้ผู้ใช้บริการจากประสบการณ์มากกว่า 30 ปี


จึงทำให้เรามีความพร้อมเป็นมืออาชีพ มีประสบการณ์ด้วยทีมงานที่มีคุณภาพ
ผ่านการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยทุกประเภท อาทิเช่น สนามบิน ทางด่วน สถาบันการเงิน โรงแรม โรงพยาบาล
สถานศึกษา สถานที่ราชการ ห้างสรรพสินค้า หมู่บ้านจัดสรร คอนโด โรงงานอุตสาหกรรม บริษัทห้างร้าน ตึก อาคาร สถานที่ทั่วไปต่างๆ เป็นต้น

รักษาความปลอดภัย

ให้บริการพนักงานรักษาความปลอดภัยในอาคาร สถานที่ และทรัพย์สิน

อารักขา

ให้บริการอารักขาบุคคลสำคัญ (VIP)

ฝึกอบรม

การฝึกอบรมหลักสูตรความปลอดภัยเบื้องต้น ตามพระราชบัญญัติธุรกิจความปลอดภัย พ.ศ. 2558

ติดตั้งอุปกรณ์

จัดระบบติดตั้งอุปกรณ์เทคโนโลยีด้านรักษาความปลอดภัย ที่ทันสมัยทุกชนิด

สอบถามรายละเอียด

เขตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด,บริษัทรักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด,หลักสูตรความปลอดภัยเขตบางพลัด,พนักงานรักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด,ระบบรักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด,ยามเขตบางพลัด,รปภ.เขตบางพลัด,ฝึกอบรมความปลอดภัยเขตบางพลัด,อุปกรณ์รักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด,ป้อมยามเขตบางพลัด,security guardเขตบางพลัด,รักษาความปลอดภัยเบื้องต้นเขตบางพลัด,อาชีพรักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด,อำนวยความสะดวกเขตบางพลัด,หน้าที่ผู้รักษาความปลอดภัยเขตบางพลัด,ดูแลด้านความปลอดภัยเขตบางพลัด,เหตุฉุกเฉินเขตบางพลัด

อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน

ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของฝั่งธนบุรี) มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) มีทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางซื่อ เขตดุสิต และเขตพระนคร มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางกอกน้อย มีถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน มีถนนบรมราชชนนีและคลองบางกอกน้อยเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติศาสตร์
เดิมเขตบางพลัดมีฐานะเป็นอำเภอชั้นในอำเภอหนึ่งของพระนคร มีชื่อว่า อำเภอบางพลัด ต่อมาถูกลดฐานะเป็น ตำบลบางพลัด ขึ้นอยู่กับอำเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี ภายหลังได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนครเข้าด้วยกันเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 ตำบลบางพลัดจึงเปลี่ยนฐานะเป็น แขวงบางพลัด เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

โดยชื่อ "บางพลัด" หมายถึง การพลัดหลง หรือหลงถิ่น เชื่อว่ามาจากเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 แก่พม่า เมื่อผู้คนอพยพหนีลงมาสู่ที่นี่ ได้เกิดการพลัดหลงหรือหลงหายกัน เนื่องจากมีลำคลอง ลำประโดง และมีสวนแน่นขนัด ทำให้ผู้ที่เข้ามาในละแวกนี้มักจะเกิดการพลัดหลงเข้าออกไม่ถูกอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งนามเช่นนี้มีความหมายในเชิงไม่เป็นมงคลในความเชื่อ จึงมีแนวคิดที่จะเปลี่ยนเป็น "บางภัทร์" ใน พ.ศ. 2545 แต่ที่สุดก็ไม่ได้มีการเปลี่ยนแต่อย่างใด

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ได้ทีการจัดตั้งที่ทำการแขวงบางพลัด โดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนวัดบางพลัด ซึ่งตั้งอยู่ที่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางพลัด เขตบางกอกน้อยในขนะนั้น

ต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งสำนักงานเขตบางกอกน้อย สาขาบางพลัด ขึ้นดูแลพื้นที่แขวงบางพลัด บางอ้อ บางบำหรุ และบางยี่ขัน ซึ่งต่อมาท้องที่ทั้ง 4 แขวงนี้ได้ยกฐานะขึ้นเป็น เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกอกน้อยและจัดตั้งเขตบางพลัด

และเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ได้มีประกาศของกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางพลัด โดยตัดพื้นที่แขวงบางบำหรุและบางยี่ขัน เฉพาะส่วนที่อยู่ทางทิศใต้ของถนนบรมราชชนนีและถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า กลับไปเป็นพื้นที่ในการปกครองของเขตบางกอกน้อยอีกครั้ง