รักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน

บริษัท รักษาความปลอดภัย กรองทอง เซฟตี้โซน จำกัด
KRONGTHONG SAFETY ZONE SECURITY GUARD CO., LTD.


มืออาชีพทางด้านการบริหารงานรักษาความปลอดภัย ด้วยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรม ทุกหลักสูตรมาตรฐานให้มีพร้อมในการดูแลชีวิตและทรัพย์สินของลูกค้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดจนถึงการพัฒนาระบบและอุปกรณ์ ให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้วันนี้ได้รับความไว้วางใจสูงสุดทั้งจากลูกค้าภาครัฐและลูกค้าภาคเอกชนมากกว่าหน่วยงานที่สำคัญมีจำนวนพนักงาน รปภ.ที่เติบโตแบบก้าวกระโดดอย่างต่อเนื่อง

ประวัติความเป็นมา : Our History

ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ พัฒนาและยกระดับอาชีพรักษาความปลอดภัย ให้มีมาตรฐาน สร้างความเชื่อมั่นและความอุ่นใจให้ผู้ใช้บริการจากประสบการณ์มากกว่า 30 ปี


จึงทำให้เรามีความพร้อมเป็นมืออาชีพ มีประสบการณ์ด้วยทีมงานที่มีคุณภาพ
ผ่านการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยทุกประเภท อาทิเช่น สนามบิน ทางด่วน สถาบันการเงิน โรงแรม โรงพยาบาล
สถานศึกษา สถานที่ราชการ ห้างสรรพสินค้า หมู่บ้านจัดสรร คอนโด โรงงานอุตสาหกรรม บริษัทห้างร้าน ตึก อาคาร สถานที่ทั่วไปต่างๆ เป็นต้น

รักษาความปลอดภัย

ให้บริการพนักงานรักษาความปลอดภัยในอาคาร สถานที่ และทรัพย์สิน

อารักขา

ให้บริการอารักขาบุคคลสำคัญ (VIP)

ฝึกอบรม

การฝึกอบรมหลักสูตรความปลอดภัยเบื้องต้น ตามพระราชบัญญัติธุรกิจความปลอดภัย พ.ศ. 2558

ติดตั้งอุปกรณ์

จัดระบบติดตั้งอุปกรณ์เทคโนโลยีด้านรักษาความปลอดภัย ที่ทันสมัยทุกชนิด

สอบถามรายละเอียด

เขตตลิ่งชัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,บริษัทรักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,หลักสูตรความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,พนักงานรักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,ระบบรักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,ยามเขตตลิ่งชัน,รปภ.เขตตลิ่งชัน,ฝึกอบรมความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,อุปกรณ์รักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,ป้อมยามเขตตลิ่งชัน,security guardเขตตลิ่งชัน,รักษาความปลอดภัยเบื้องต้นเขตตลิ่งชัน,อาชีพรักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,อำนวยความสะดวกเขตตลิ่งชัน,หน้าที่ผู้รักษาความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,ดูแลด้านความปลอดภัยเขตตลิ่งชัน,เหตุฉุกเฉินเขตตลิ่งชัน

เป็นพื้นที่รอบนอกทางตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเรียกว่า "ฝั่งธนบุรี" ปัจจุบันจัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ สภาพโดยทั่วไปเป็นเขตอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย แต่ปัจจุบัน พื้นที่เกษตรกรรมกำลังลดลงไปมากจากการสร้างพื้นที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและการสร้างเส้นทางคมนาคม

ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของฝั่งธนบุรี และมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) มีแนวกึ่งกลางคลองมหาสวัสดิ์เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) เขตบางพลัด และเขตบางกอกน้อย มีคลองบางกอกน้อยและคลองชักพระเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตภาษีเจริญและเขตบางแค มีคลองบางเชือกหนังเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตทวีวัฒนา มีถนนกาญจนาภิเษกเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติศาสตร์
เขตตลิ่งชันเดิมเป็นอำเภอเก่าแก่อยู่ในพื้นที่การปกครองของจังหวัดธนบุรีมีชื่อว่า อำเภอตลิ่งชัน ตั้งที่ว่าการอยู่บริเวณคลองบางกอกน้อย ตำบลบางบำหรุ ท้องที่อำเภอบางกอกน้อย ต่อมาได้ย้ายไปตั้งที่ปากคลองวัดไก่เตี้ย ริมคลองบางกอกน้อย และในปี พ.ศ. 2457 จึงได้ย้ายที่ว่าการอำเภอมาตั้งอยู่ที่ริมทางรถไฟสายใต้ ตำบลคลองชักพระ

ตำบลคลองชักพระเป็นตำบลเดียวของอำเภอตลิ่งชันที่อยู่ในเขตเทศบาลนครธนบุรี (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479) แต่เนื่องจากอำเภอตลิ่งชันมีอาณาเขตกว้างขวางและมีประชากรเพิ่มขึ้น กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศจัดตั้งตำบลทวีวัฒนาแยกจากตำบลศาลาธรรมสพน์ในปี พ.ศ. 2500 จัดตั้งสุขาภิบาลตลิ่งชันครอบคลุมพื้นที่ตำบลตลิ่งชันในปี พ.ศ. 2504 รวมทั้งตั้งตำบลบางพรมขึ้นโดยแยกพื้นที่จากตำบลบางเชือกหนังในปี พ.ศ. 2512 และตั้งตำบลฉิมพลีแยกพื้นที่จากตำบลตลิ่งชันในปี พ.ศ. 2513 อำเภอตลิ่งชันจึงแบ่งการปกครองออกเป็น 8 ตำบล และประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2 แห่ง

ภายหลังได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและต่อมาเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ยุบการปกครองท้องถิ่นแบบสุขาภิบาลและเทศบาล รวมทั้งได้เปลี่ยนการเรียกตำบลและอำเภอใหม่ อำเภอตลิ่งชันจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตตลิ่งชัน ส่วนตำบลต่าง ๆ ก็เปลี่ยนฐานะเป็นแขวงตามไปด้วย จนกระทั่งในในปี พ.ศ. 2541 พื้นที่เขตทางฟากตะวันตกของถนนกาญจนาภิเษกได้ถูกแบ่งและจัดตั้งเป็นเขตใหม่ คือเขตทวีวัฒนา ทุกวันนี้พื้นที่ส่วนใหญ่ของเขตก็ยังคงเป็นพื้นที่เกษตร ได้แก่ สวนผัก สวนผลไม้ โดยผลไม้ที่เป็นผลไม้ดั้งเดิมของที่นี่ คือ มะเฟือง แต่ในปัจจุบันก็เริ่มที่จะมีการสร้างบ้านจัดสรรเข้ามาด้วย แต่ผู้คนบางส่วนก็ยังสัญจรไปมาทางน้ำโดยการใช้เรืออยู่